TOP LATEST FIVE มะเร็งปอดเป็นยังไง เช็คอาการระยะเริ่มต้น รู้ไวรักษาทัน URBAN NEWS

Top latest Five มะเร็งปอดเป็นยังไง เช็คอาการระยะเริ่มต้น รู้ไวรักษาทัน Urban news

Top latest Five มะเร็งปอดเป็นยังไง เช็คอาการระยะเริ่มต้น รู้ไวรักษาทัน Urban news

Blog Article

การตรวจคัดกรองมะเร็งปอดมะเร็งปอด อ่านเพิ่มเติม พ.

มีประวัติคนในครอบครัวเป็นมะเร็งปอด ผู้ที่มีพ่อแม่พี่น้องเป็นโรคมะเร็งปอดมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็งปอดแม้ไม่ได้สูบบุหรี่

การฉายรังสีใช้เวลาไม่นานและไม่ทำให้เจ็บปวด แต่อาจทำให้เกิดผลข้างเคียง เช่น กลืนลำบาก อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ระคายเคืองผิวหนังบริเวณที่ฉายรังสี

การทำงานในอุตสาหกรรมที่มีสารก่อมะเร็ง – การสัมผัสสารก่อมะเร็ง เช่น โครเมียม ไรแย่หิน แร่เรดอน นิกเกิล เป็นต้น

สาขามะเร็งวิทยา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล.

มีประวัติเคยผ่านการฉายรังสีเพื่อรักษามะเร็งมาก่อน

มีอาการไข้ต่ำๆ ที่ไม่สามารถหาสาเหตุได้

การรักษามะเร็งปอดชนิดไม่ใช่เซลล์ขนาดเล็กตามระยะของโรค ระยะแอบแฝง มักจะรักษาให้หายได้โดยการผ่าตัด

โดยทั่วไปมะเร็งแบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้ดังนี้

ตากแดดจัดนานๆ ระวังลูกน้อยเสี่ยง “โรคลมแดด” ใกล้ถึงช่วงปิดเทอมแบบนี้เด็กหลายคนมักจะชื่นชอบออกมาวิ่งเล่นตากแดดท่ามกลางอากาศร้อนและแสงแดดจัดเป็นเวลานานๆ อาจทำให้เกิดอาการเพลียแดดได้ โดยอาการเพลียแ...

ผลข้างเคียงจากการรักษามะเร็งปอดแต่ละวิธีจะแตกต่างกันไป และผลข้างเคียงจะมีสูงขึ้นเมื่อใช้หลายวิธีรักษาร่วมกัน และ/หรือเมื่อผู้ป่วยเป็นผู้สูงอายุ สูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์ และมีโรคประจำตัว (โดยเฉพาะโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง โรคภูมิต้านตนเอง)

ทั้งนี้ รศ.นพ.โกสินทร์ ทิ้งท้ายว่า หากผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งปอดระยะสุดท้าย สิ่งสำคัญอยากให้ผู้ป่วยและญาติให้กำลังใจกันและกัน หลังจากนั้นก็ควรปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ มะเร็งปอด ซึ่งปัจจุบันมียาใหม่ ๆ ที่ควบคุมตัวโรคได้ดียิ่งขึ้น มีการรักษาแบบประคับประคอง แม้ไม่สามารถหายขาดได้ แต่ทำให้ผู้ป่วยและครอบครัวดูแลกันอย่างมีความสุข ซึ่งเป็นเป้าหมายสำคัญของผู้ป่วยในระยะนี

มะเร็งมีขนาดเล็กและพบแพร่กระจายไปยังต่อมน้ำเหลืองที่ขั้วปอด

ในระยะเริ่มแรกจะไม่มีอาการใด ๆ แต่ต่อมาผู้ป่วยจะมีอาการไอเรื้อรัง (ไอแห้งหรือไอมีเสมหะ อาการไอจะไม่ทุเลาลงเหมือนการไอปกติ แต่จะเป็นมากขึ้นเรื่อย ๆ) อาจไอมีเลือดปนในเสมหะหรือไอออกมาเป็นเลือดสด ๆ จำนวนมาก (หากมะเร็งลุกลามถูกหลอดเลือด) หายใจมีเสียงดังวี้ด (หากหลอดลมถูกอุดกั้นจากก้อนมะเร็ง) หรือเจ็บแน่นหน้าอกเรื้อรังโดยไม่ทราบสาเหตุที่ชัดเจน (หากมะเร็งลุกลามไปที่เยื่อหุ้มปอดหรือกระดูกซี่โครง) ซึ่งอาจทำให้เข้าใจผิดว่าเป็นโรคหัวใจขาดเลือดได้

Report this page